หน้าแรก

สาระการเรียนรู้หน่วย  "ผักปลอดภัย"




คำถามหลัก ( Big Question)   :   ผัก มีประโยชน์ และ ความสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตอื่นๆอย่างไร?

ภูมิหลังที่มาของปัญหา  :   ปัจจุบันเด็กจะชอบรับประทานอาหารแปรรูป อาหารสำเร็จรูปมากขึ้นอาจจะเนื่องด้วยความเร่งรีบและความสะดวกสบายของพ่อ แม่ ทำให้เด็กส่วนใหญ่ไม่ชอบทานผัก ซึ่งผักเป็นอาหารที่อุดมด้วยวิตามินและแร่ธาตุที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย โดยเฉพาะในเรื่องของระบบขับถ่าย ช่วยให้ร่างกายแข็งแรง  ช่วยสร้างภูมิต้านทานและป้องกันโรคภัยไข้เจ็บ  แต่ด้วยในปัจจุบันผักกลับมีความปลอดภัยน้อยลง  เนื่องจากมีการใช้สารเคมีกำจัดแมลงและศัตรูพืชในการเพาะปลูก  ซึ่งก่อให้เกิดสารพิษตกค้างส่งผลให้ผู้บริโภคได้รับสารพิษตกค้างเกิดการสะสมในร่างกายส่งผลต่อปัญหาสุขภาพในอนาคต 

ดังนั้นนักเรียน  ครู  ผู้ปกครอง  จึงจำเป็นต้องเรียนรู้ถึงการผลิตหรือการเพาะปลูกผักที่ปลอดสารพิษ  รวมทั้งการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และปลอดภัยต่อร่างกายจนสามารถเป็นผู้ผลิตและประกอบอาหารเพื่อรับประทานได้เอง

เป้าหมายของความเข้าใจ ( Understanding Goal ) :   นักเรียนเข้าใจความสำคัญและเห็นคุณค่าของผัก  ตลอดจนเลือกรับประทานและผลิตอาหารให้ปลอดภัย  อีกทั้งสามารถเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่นได้



ปฏิทินการเรียนจัดกิจกรรมการเรียนรู้บูรณาการ PBL (Problem Based   Learning)


หน่วย : ผัก

ระดับชั้นอนุบาล 1  (Quarter 3) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
Week
Input
Process
Output
Outcome
week
1

โจทย์ :
ปลูกผัก
- สร้างแรงบัลดาลใจ
- สร้างฉันทะในการเรียนรู้
- ทบทวนวิถี
Key  Questions
- นักเรียนอยากเรียนรู้อะไรใน Quarter นี้ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนั้น
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้
Card & Chart : เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Blackboard  Share : ชื่อ หน่วย
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- นิทาน












- ทบทวนวิถี
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจพืชผัก สิ่งมีชีวิตและสิ่งต่างๆรอบบริเวณภายในโรงเรียน
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับการปลูกผัก
- ครูและนักเรียนร่วมกันเตรียมแปลงผัก
- ครูและนักเรียนร่วมกันปลูกผักเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
- ครูเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับผักเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
-นำเสนอชิ้นงานเป็นรายบุคคล





ภาระงาน
- พูดคุยเกี่ยวกับการเดินสำรวจรอบๆรงเรียน  ทบทวนวิถี
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทาน
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดเตรียมแปลงผัก
- ปลูกผัก
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่อยากเรียนรู้

ชิ้นงาน
- วาดภาพผักผลไม้ที่ชอบ
- วาดภาพสิ่งที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆบริเวณโรงเรียน
- วาดสิ่งที่อยากเรียนรู้

ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
   - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน 
   - ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน


















week
2

โจทย์ :
เลือกหัวข้อ         
-สิ่งที่รู้แล้ว
-สิ่งที่อยากเรียนรู้
Key  Questions
- นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร? ทำไมถึงอยากเรียนรู้เรื่องนี้ ?
นักเรียนรู้อะไรและอยากเรียนรู้เรื่องอะไรเกี่ยวกับผัก?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้พบเห็นจากการเดินสำรวจและฟังนิทาน
- ระดมความคิดเห็นชื่อหน่วย
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้ว/สิ่งที่อยากเรียนรู้
Card & Chart : เรื่องที่ต้องการเรียนรู้
Blackboard  Share :
-ชื่อ หน่วย
- สิ่งที่รู้แล้ว
- สิ่งที่อยากเรียนรู้
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- นิทาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนร่วมกันร้องเพลง “กินผักผลไม้”
- ครูเล่านิทาน “ กุ๋งกิ๋งท้องผูก”
- ครูและนักเรียนสำรวจแปลงผัก
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ครูและนักเรียนสังเกตผักบุ้งที่ปลูกไว้
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
 - Show and Share










ภาระงาน
- พูดคุยเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองอยากเรียนรู้และตั้งชื่อหน่วย
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทาน
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- แสดงความคิดเห็นจากการสังเกตผักบุ้งที่ปลูกไว้

ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่พบเห็นจากการเดินสำรวจรอบๆบริเวณโรงเรียน
- วาดภาพสิ่งที่อยากเรียนรู้
- แตก web สิ่งที่รู้แล้ว
- แตก web สิ่งที่อยากเรียนรู้

ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น


คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
   - มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
    - ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน




















week
3

โจทย์ :
การงอก/โครงสร้าง
- พืช
- สัตว์
- คน
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าการงอกและโครงสร้างของผัก และสิ่งมีชีวิตอื่นเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความคิดเห็นเกี่ยวกับชนิดและประเภทของผักที่รู้จัก เช่น ชื่อของผัก สี รส กลิ่น รูปร่าง
- ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับส่วนประกอบของผัก
Wall  Thinking :
- ใบงาน web ผักที่นักเรียนรู้จัก
- แตก web ส่วนประกอบของผัก
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรีย
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศรอบบริเวณโรงเรียน
- นิทาน
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจแปลงผักที่ปลูกไว้
 - ทดลองการงอกของพืช
- ครูเล่านิทาน “หนูอยากกลับไปอยู่ในท้องแม่”
- ครูพานักเรียนเดินสำรวจแปลงผัก
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างของ คน พืช สัตว์
- Show and Share

ภาระงาน
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินสำรวจ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการงอกของพืช
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโครงสร้างของพืช
- Show and Share

ชิ้นงาน
-วาดภาพการเจริญงอกของผัก
- แตก web ส่วนประกอบของผัก
- ปั้นดินน้ำมัน


ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน








week
4

 โจทย์ : เพราะปลูก/การขยายพันธุ์
- เมล็ด
- ต้น
- หัว
- แยกหน่อ
ฯลฯ
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าพืชผักชนิดต่างๆมีการขยายพันธุ์เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร?
-นักเรียนคิดว่าปัจจัยใดบ้างที่ทำให้ผักเจริญเติบโตได้
-ถ้าไม่มีน้ำและดินจะสามารถปลูกผักได้หรือไม่
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
-ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการปลูกและการขยายพันธุ์ผัก
Think Pair Share: การเจริญเติบโต/การขยายพันธุ์
Wall  Thinking :
-วาดภาพส่วนต่างๆของผัก
-แตก web ขั้นตอนการขยายพันธุ์ผัก
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- บรรยากาศภายนอกชั้นเรียน
-นิทานเรื่องหัวผักกาดยักษ์

- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทาน “มหัศจรรย์วันของหนู” เพื่อเชื่อมโยงถึงการเกิด
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจแปลงผักรอบๆโรงเรียนและแปลงผักที่ปลูกไว้
- ดูคลิปวิดีโอ “การเกิดของสิ่งมีชีวิต”
- เชิญวิทยากร (ผู้ปกครองมาให้ความรู้เรื่องการเพราะปลูก)
- ครูเล่านิทานเรื่อง “เมล็ดแครอต”
- การบ้าน ให้นักเรียนนำเมล็ดพันธ์ผักที่จะปลูกมาจากบ้าน
- ทดลอง
- Show and Share

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ นิทาน
- แสดงความคิดเห็นจากการดูคลิปวิดีโอ
- แสดงความคิดเห็นจากการเดินสำรวจ
- ร่วมกันปลูกผัก

ชิ้นงาน
- แตก web การเจริญเติบโตและการขยายพันธุ์
- วาดภาพสิ่งที่ได้เรียนรู้จากคลิปวิดีโอ
- ปั้นดินน้ำออกแบบแปลงผักเป็นกลุ่ม

ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด


ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน

week
5

โจทย์ :
การดูแลรักษา/การเจริญเติบโต
- รดน้ำ
- พรวนดิน
- ใส่ปุ๋ยคอก/ปุ๋ยหมัก
- กำจัดศัตรูพืช
 Key  Questions
-นักเรียนจะมีวิธีการดูแลรักษาและการเจริญเติบโตของผักได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาและการเจริญเติบโตของผัก
Think Pair Share: ประโยชน์และโทษของผัก
Blackboard  Share : การประกอบอาหารเมนู
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน  เพลง
- แปลงผัก
















- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนสังเกตแปลงผัก  ความเปลี่ยนแปลง  และการเจริญเติบโต
- ครูเล่านิทาน “อาบน้ำสนุกจัง ”
- ครูและนักเรียนสำรวจและสังเกตผักที่ปลูกไว้
- ครูเล่านิทานเรื่อง “อาหารที่เรากินไปไหน”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ผักเสี้ยนวิเศษ”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “มดน้อยแสนขยัน”
- ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตของ  คน  พืช  สัตว์
- นักเรียนแตก web การดูแลรักษา
- ทดลอง
- Show and Share





 ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การเจริญเติบโตของผัก
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูแลรักษาผัก และการดูแลรักษาร่างกายตัวเอง
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับโรคของพืช
- Show and Share

ชิ้นงาน
- แตก web การดูแลรักษาตัวเอง
- ทำกระทงจากวัสดุธรรมชาติ
- ปั้นดินน้ำมันการการเจริญเติบโตของผัก
- นักเรียนต่อเติมภาพ


  ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน       

week
6

 โจทย์ :
ประโยชน์และโทษ
- คน
- พืช
- สัตว์
 Key  Questions
-นักเรียนคิดว่าผักมีประโยชน์และโทษต่อเรา และสิ่งมีชีวิตอื่นหรือไม่ อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของผัก
Think Pair Share: ประโยชน์และโทษของผัก
Blackboard  Share : การประกอบอาหารเมนู
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน  เพลง  แปลงผัก

















- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ นักเรียนดูคลิปวิดีโอประโยชน์ของ สิ่งมีชีวิต”เพื่อให้นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของผัก
- ครูเล่านิทานเรื่อง “มะละกอข้างครัว”
- ครูและนักเรียนแบ่งกลุ่มเล่นเกม “ตามหาผัก”
- ครูเล่านิทานเรื่อง”อาหารวิเศษ”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแสดงความคิดเกี่ยวกับ”ประโยชน์ของผักต่อสิ่งมีชีวิตอื่น”
- ทดลอง
- Show and Share


 ภาระงาน
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประโยชน์และโทษของผักรวมทั้งเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน
- ร่วมเล่มเกม “ตามหาผัก”
แสดงความคิดเกี่ยวกับ”ประโยชน์ของผักต่อสิ่งมีชีวิตอื่น”
ชิ้นงาน
-ใบงานเขียน web ประโยชน์/โทษของผัก
-พิมพ์ภาพจากผัก


ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน

week
7

โจทย์ :
ประกอบอาหาร
 Key  Questions
-นักเรียนคิดว่าผักที่ปลูกไว้มาประกอบอาหารได้ทุกส่วนหรือไม่ อย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการประกอบอาหาร
Think Pair Share: การประกอบอาหาร
Blackboard  Share : การประกอบอาหารเมนู
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน / เพลง
- อุปกรณ์ในการประกอบอาหารเมนู
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูและนักเรียนสังเกตแปลงผัก  ความเปลี่ยนแปลง  และการเจริญเติบโต
- ครูและนักเรียนเก็บผักที่ปลูกไว้มาประกอบอาหารเมนู “ผัดผักบุ้ง”
- ครูและนักเรียนร่วมกันประกอบอาหารเมนู ผัดผักบุ้ง
- ครูเล่านิทาน “อาหารกลางวัน”
- ทดลอง
- Show and Share

ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ประโยชน์ของผัก
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการจะนำผักมาทำอาหาร
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับขั้นตอนและส่วนประกอบในการทำอาหาร
- Show and Share

ชิ้นงาน
- แตก web การดูแลรักษาผัก
- แตก web ส่วนประกอบในการทำอาหาร
-  วาดภาพอาหารที่ทำ



ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
           
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกั

week
8

โจทย์ :
วัฏจักรห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต
- คน
- พืช
- สัตว์
 Key  Questions
นักเรียนคิดว่าสิ่งมีชีวิตคน พืช สัตว์ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ระดมความคิดเกี่ยวกับวัฏจักรห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต
Think Pair Share:
Blackboard  Share : แตก web วัฏจักรห่วงโซ่อาหารสิ่งมีชีวิต
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- นิทาน
- เพลง
- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนดูคลิปวิดีโอ “ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต”
- ครูเล่านิทาน เรื่อง “แกะรอยสัตว์จอมเขมือบ”
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ต้นไม้กับชีวิต”
- ครูและนักเรียนร่วมกันเดินสำรวจความเชื่อมโยงสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
- ทดลอง
- Show and Share


ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเดินสำรวจ
-  แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับนิทาน
 - แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการดูคลิปวิดีโอ
- Show and Share

ชิ้นงาน
- แตก web ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
- วาดภาพสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปวิดีโอ
ปั้นดินน้ำมัน

ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน

week
9
โจทย์ :
ความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่น
- คน
- พืช
- สัตว์
-สิ่งแวดล้อม
Key  Questions
- นักเรียนคิดว่าความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่นมีความสัมพันธ์กับตัวนักเรียนเองอย่างไร?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่น
Blackboard  Share : ร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับผักกับสิ่งมีชีวิตอื่น
Wall  Thinking : ใบงานเขียน webความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่น
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน็้
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- เพลง
- นิทาน

- ครูและนักเรียนทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูเล่านิทานเรื่อง “ ” เพื่อให้นักเรียนเข้าใจความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิต เช่น คน พืช สัตว์
- ครูเล่านิทาน “หนอนจอมเขมือบ ” เพื่อให้นักเรียนได้เชื่อมโยงกับสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
- ครูและนักเรียนเดินสำรวจบริเวณภายในโรงเรียน
- ทดลอง
- Show and Share
























ภาระงาน
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยว กับกิจกรรมที่ได้ทำ
- แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผักกับชุมชนและสิ่งมีชีวิตอื่น
- พูดคุยแสดงความคิดเห็นเราสามารถนำผักไปทำประโยชน์
- บทบาทสมมุติ

ชิ้นงาน
- วาดภาพสิ่งที่ได้เรียนรู้
- พิมพ์ภาพจากผัก

ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกัน






















week
10

โจทย์ :
สรุปองค์ความรู้
-นิทรรศการ
-แสดงละคร
-เพลง
Key  Questions
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ หน่วย “ผัก” ?
- นักเรียนจะเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับหน่วย “”ให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างไร ?
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
- ระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ หน่วย “ ผักชวนชิม ”
Wall  Thinking :                 
 ใบงานเขียน  Mind  Mapping  สิ่งที่ได้เรียนรู้เกี่ยวกับ หน่วย “ ผักชวนชิม”
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- ครู
- นักเรียน
-ผู้ปกครอง
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ครูและนักเรียนร้องเพลง “ ” พร้อมทำท่าทางประกอบ
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดนิทรรศการ/การแสดง สรุปองค์ความรู้
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวนกิจกรรมที่ผ่านมา และแลกเปลี่ยน คำถาม ข้อสงสัยจากสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้เกี่ยวกับ         หน่วย “ ” เพื่อให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวอีกครั้ง
- นักเรียนทุกคน Show and Share
นำเสนอ สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้หน่วย “ ” ให้ครูและเพื่อนๆฟัง

ภาระงาน
-พูดคุยแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรมที่ได้ทำ
-แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเกี่ยวกับผัก
-การตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเผยแพร่และถ่ายทอดองค์ความรู้เกี่ยวกับ
หน่วย “ผัก” ให้ผู้อื่นเข้าใจ

ชิ้นงาน
-ใบงาน
-ใบงานเขียน web สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้










ความรู้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการคิด
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการสังเกต
ทักษะการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
ทักษะการอยู่ร่วมกันกับผู้อื่น

คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่น
ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่
- มีความรับผิดชอบและมุ่งมั่นในการทำงาน
- กระตือรือร้นในการเรียนรู้
- มีจิตอาสาในการทำกิจกรรมต่างๆ มีน้ำใจช่วยเหลือ แบ่งปัน
- ยินดีและพอใจในสิ่งที่ตนเองมี เคารพสิทธิซึ่งกันและกั







ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์มาตรฐานการเรียนรู้กับพัฒนาการ

หน่วย  “ ผัก….  ระดับชั้นอนุบาล 1

สาระการเรียนรู้
พัฒนาการ
มาตรฐาน/ตัวบ่งชี้

สาระ
1. สร้างแรงบันดาลใจและสร้างฉันทะการเรียนรู้ 
       - ปลูกผัก
       - ทบทวนวิถี
 2. เลือกหัวข้อ
         - สิ่งที่รู้แล้ว
         - สิ่งที่อยากเรียนรู้
3. การงอก/โครงสร้าง
       - พืช
       - สัตว์
       - คน
4.  เพราะปลูก/การขยายพันธุ์
       - เมล็ด
       - ต้น
       - หัว
       - แยกหน่อ
       ฯลฯ
5.  การดูแลรักษา/การเจริญเติบโต
     - รดน้ำ
     - พรวนดิน
     - ใส่ปุ๋ยคอก/ปุ๋ยหมัก
     - กำจัดศัตรูพืช
6.  ประโยชน์และโทษ
    - คน
    - พืช
    - สัตว์
7.  ประกอบอาหาร
8.  วัฏจักรห่วงโซ่อาหารของสิ่งมีชีวิต
    - คน
    - พืช
    - สัตว์
9.  ความสัมพันธ์ของผักกับสิ่งมีชีวิตอื่น
    - คน
    - พืช
    - สัตว์
   - สิ่งแวดล้อม
10. สรุปองค์ความรู้
     - นิทรรศการ
     - แสดงละคร
     - เพลง          




ด้านร่างกาย
    ผู้เรียนมีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อมัดใหญ่-เล็กในการเคลื่อนไหวร่างกาย  ประดิษฐ์ชิ้นงาน  ได้แก่  
ขีดเขียน  วาดภาพบุคคลระบายสีไม้, สีเทียนเล่นกับสีน้ำ   เช่น เป่าสี  พับสี, ปั้นดินน้ำมัน, ฉีก- ปะ กระดาษเป็นรูปหยดน้ำสิ่งมีชีวิตอื่นต่อเติมภาพตามจินตนาการ, ประดิษฐ์สิ่งมีชีวิตจากเศษวัสดุต่างๆ, ประกอบอาหารที่มีส่วนผสมของน้ำ, เคลื่อนไหวส่วนต่างๆ  ของร่างกาย การแสดงบทบาทสมมติ/จินตนาการผ่านท่าทางและสีหน้า


ด้านอารมณ์และจิตใจ
     ผู้เรียนมีวินัย  ความรับผิดชอบ  ปฏิบัติตนตามข้อตกลงร่วมกัน  ทำงานจนสำเร็จ  และแสดงความภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง  ได้แก่  การShow and Share ผลงานในแต่ละสัปดาห์  การทำใบงานให้เสร็จตามเวลาที่กำหนด  การเก็บของใช้เข้าที่หลังจากทำใบงานหรือประดิษฐ์ชิ้นงาน
ผู้เรียนช่วยเหลืองานเต็มความสามารถด้วยความเต็มใจ  เช่น  การจัดเก็บอุปกรณ์ เก็บกวาดห้องเรียน อาสาแจกใบงาน/อุปกรณ์ให้เพื่อน  -  ผู้เรียนมีมารยาทและปฏิบัติตามวัฒนธรรมไทย  ได้แก่  มีมารยาทในการพูดเมื่อต้องการพูดจะยกมือก่อนพูดทุกครั้ง
   - สนใจฟังเมื่อมีผู้อื่นพูดมีมารยาทในการรับประทานอาหาร 
      -ไหว้ขอบคุณเมื่อรับสิ่งของจากผู้อื่นทุกครั้ง
    -  ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการรักษาความสะอาดด้วยการนำเศษวัสดุจากการประดิษฐ์ชิ้นงานทิ้งลงถังขยะอย่างถูกที่
    -  ผู้เรียนมีความสนใจงานด้านศิลปะโดยเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะอย่างมีความสุข ได้แก่  การสร้างงานศิลปะด้วยความเต็มใจการแสดงความชื่นชมและภาคภูมิใจในผลงานศิลปะ

  ด้านสังคม
    - ผู้เรียนสนใจเข้าร่วมกิจกรรม  เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข
   -  ผู้เรียนยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
   -  ผู้เรียนมีความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 
   -  ผู้เรียนมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อครู  เพื่อนและผู้อื่น
ด้านสติปัญญา
    -  ผู้เรียนสามารถเรียงลำดับเหตุการณ์จากการฟังนิทานหรือเรื่องราวได้
    -  ผู้เรียนรู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผลและมีความสนใจใฝ่รู้
    -  ผู้เรียนมีทักษะในการสื่อสาร สามารถถ่ายทอดเรื่องราว

ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 มีทักษะในการใช้กล้ามเนื้อใหญ่-เล็ก
ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 มีทักษะในการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
 มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 รักการออกกำลังกาย ดูแลสุขภาพ และช่วยเหลือตนเองได้
ตัวบ่งชี้ที่7.2 มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์
มาตรฐานที่ 1   ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.2  มีความซื่อสัตย์สุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 1.3   มีความกตัญญูกตเวที
ตัวบ่งชี้ที่ 1.4    มีเมตตากรุณา มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเองและผู้อื่น
ตัวบ่งชี้ที่ 1.5   ประหยัด รู้จักใช้และรักษาทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 2  ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 รับรู้คุณค่าของสิ่งแวดล้อมและผลกระทบที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนสามารถทำงานจนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 สนใจและกระตือรือร้นในการทำงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ทำงานจนสำเร็จและภูมิใจในผลงาน
ตัวบ่งชี้ที่ 3.4   มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
มาตรฐานที่ 6   ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.2   มีความกระตือรือร้นในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว และสนุกกับการเรียนรู้
มาตรฐานที่ 8   ผู้เรียนมีสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรี และการเคลื่อนไหว
ตัวบ่งชี้ที่ 8.1  มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ
ตัวบ่งชี้ที่ 8.2   มีความสนใจและร่วมกิจกรรมด้านดนตรี
ตัวบ่งชี้ที่ 8.3   มีความสนใจและร่วมกิจกรรมการเคลื่อนไหว
มาตรฐานที่ 1   ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์
ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีวินัย มีความรับผิดชอบ ปฏิบัติตามข้อตกลงร่วมกัน
ตัวบ่งชี้ที่ 1.6    มีมารยาทและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
มาตรฐานที่ 2  ผู้เรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ตัวบ่งชี้ที่ 2.2   เข้าร่วมหรือมีส่วนร่วมกิจกรรม/โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
มาตรฐานที่ 3     ผู้เรียนสามารถทำงานจนสำเร็จ ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริต
ตัวบ่งชี้ที่ 3.3      
มาตรฐานที่ 7    ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.4    มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
ตัวบ่งชี้ที่ 7.5 ร่าเริง แจ่มใส มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีต่อเพื่อน ครู และผู้อื่น
มาตรฐานที่ 4    ผู้เรียนสามารถคิดรวบยอด คิดแก้ปัญหา และคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ตัวบ่งชี้ที่ 4.1     มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากการเรียนรู้
ตัวบ่งชี้ที่ 4.2     แก้ปัญหาได้เหมาะสมกับวัย
ตัวบ่งชี้ที่ 4.3     มีจินตนาการ และ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
มาตรฐานที่ 5   ผู้เรียนมีความรู้และทักษะเบื้องต้น
ตัวบ่งชี้ที่ 5.3     มีทักษะในการสื่อสาร
ตัวบ่งชี้ที่ 5.4    มีทักษะในการสังเกตและสำรวจ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.5    มีทักษะในเรื่องมิติสัมพันธ์
ตัวบ่งชี้ที่ 5.6    มีทักษะในเรื่องจำนวน ปริมาณ น้ำหนัก และการกะประมาณ
ตัวบ่งชี้ที่ 5.7    เชื่อมโยงความรู้และทักษะต่างๆ
มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีความสนใจใฝ่รู้ รักการอ่าน และพัฒนาตนเอง
ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 รู้จักตั้งคำถามเพื่อหาเหตุผล และมีความสนใจใฝ่รู้
มาตรฐานที่ 7 ผู้เรียนมีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 เห็นโทษของสิ่งเสพติดให้โทษและสิ่งมอมเมา



                            เชื่อมโยงหน่วย“ผักปลอดภัย” กับพัฒนาการพื้นฐาน 

ภาษาไทย
คณิตศาสตร์
ภาษาอังกฤษ
     
 การฟัง
-    - ฟังนิทาน
-    - ฟังเพลงและเคลื่อนไหวทำท่าทางประกอบ
-    - ฟังและปฏิบัติตามคำสั่ง/ข้อตกลง
-    - ฟังและตอบคำถาม
-     - การเป็นผู้ฟังที่ดี
-     - การฟังและจำแนกเสียง  เช่น  เสียงสัตว์
   การพูด 
-     -บอกความต้องการ/ความรู้สึก
-     -สนทนาถาม-ตอบ
-     -อธิบายสิ่งที่เข้าใจ  ร้องเพลง  คำคล้องจอง
-    - แนะนำ/บอกชื่อของสิ่งต่างๆ
-     - เล่าหรือถ่ายทอดเรื่องราว เหตุการณ์ที่ได้            ฟัง  ได้เห็น  หรือประสบการณ์จริง
-     - แต่งประโยคจำคำ / ภาพ  เล่าเรื่องตาม              ภาพ
      การอ่าน 
-      - อ่านตามภาพ
-      - อ่านท่าที /ท่าทาง /สีหน้า /ลักษณะ                 ต่างๆ
-      -  อ่านคำตามภาพ / สัญลักษณ์
-       - อ่านตามตัวอย่างก่านสะกดคำง่ายๆ  เช่น            แม่ ก กา
      การเขียน
-      - เขียนตามตัวอย่าง
-      - เขียนตามจินตนาการ
-        ฯลฯ

การสังเกต  การจำแนก  การเปรียบเทียบ
-  การจำแนกความเหมือนความต่าง
-  การจัดหมวดหมู่
-  การเรียงลำดับสิ่งต่างๆ
ด้านตัวเลขและจำนวน
-  การนับจำนวน
-  การรู้ค่าจำนวน
-  การดำเนินการเกี่ยวกับจำนวน
ด้านมิติสัมพันธ์
-  เข้าใจตำแหน่ง
-  เข้าใจระยะ
-  การเข้าใจทิศทาง
-  การต่อชิ้นส่วนภาพ
ทักษะทางด้านเวลา
-  การเปรียบเทียบในเรื่องเวลา
-  การลำดับเหตุการณ์
-  ฤดูกาล
ทักษะการคิด
-  การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  5
-  การคิดเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของสิ่งต่างๆ
-  ความคิดสร้างสรรค์
-  การคิดแก้ปัญญา
ทักษะการใช้ภาษา / การสื่อสาร
-  การฟัง
-  การพูด
-  การอ่าน
-  การเขียน

การฟัง
-  ฟังคำสั่งเข้าใจ  ปฏิบัติตามได้  เช่น  Sitdown , Stan   up  เป็นต้น
-  ฟัง  เข้าใจความหมาย  สนทนาโต้ตอบได้  เช่น What you  name ?  My name  is……..  What  is  this ?      It’s  a…………….
What do  like ?  I  like  ……………
-  ร้องเพลง  เข้าใจความหมาย
การพูด
-  พูดสนทนาโต้ตอบ
-  บอกคำศัพท์เกี่ยวกับสิ่งต่างๆ รอบตัว  เช่น  เกี่ยวกับอวัยวะ  เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้  เกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต / ไม่มีชีวิต  ฯลฯ
การอ่าน
-  อ่านคำศัพท์จากภาพ
-  อ่านตามตัวอย่าง
- อ่าน A-Z
การเขียน
-  เขียน  A-Z
-  เขียนชื่อตัวเอง
-  เขียนคำตามตัวอย่าง




Web  เชื่อมโยงหน่วย  “ผัก….”    กับพัฒนาการทั้ง  4  ด้าน
ด้านร่างกาย

กล้ามเนื้อมัดเล็ก

  -  ขีดเขียน  วาดภาพ   

  -  ระบายสีไม้ สีเทียน  ฝนสี
  -  ปั้นดินน้ำมัน ปั้นแป้งโดว์ 
  - ฉีก  ปะ ตัด ติด

  - ขยำกระดาษ     

  - ตัดกระดาษตามเส้น
  - พับกระดาษ     
  - ต่อเติมภาพตามจินตนาการ
  - ประดิษฐ์จากวัสดุธรรมชาติ / วัสดุเหลือใช้
  - ประกอบอาหาร
  - เล่นกับสีน้ำ เช่น เป่าสี  พับสี ฉีดสี กลิ้งสี  พิมพ์สีฯลฯ


กล้ามเนื้อมัดใหญ่
- เล่นเครื่องเล่นสนาม
-  เล่นกีฬา  เกมการละเล่น  เช่น  การโยน-รับลูกบอล  เป็นต้น
-  การเคลื่อนไหวร่างกาย  เช่น  เคลื่อนไหวประกอบเพลง  ประกอบคำบรรยาย  เป็นต้น
-  กระโดดขาเดียว  กระโดดสองขา
-  การประดิษฐ์ชิ้นงาน  หรือการทดลอง
-  การเดิน  การวิ่ง  การกระโดด
-  การดึง  การดัน  การจับ  การขว้าง  การเตะ
-  การเลียนแบบท่าทางสัตว์ต่างๆ

ความสัมพันธ์มือ-ตา
-  การขีดเขียน   การวาดตามแบบ
-  การร้อย
-  การต่อบล็อก
-  การระบายสี
-  การติดกระดุม
-  การหยิบจับสิ่งของ
-  การเล่นเกม  กีฬา  เช่น  การรับ-การโยน
-  การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน เช่น  การรับประทานอาหาร  การแต่งกาย  การสวมใส่รองเท้า  ถุงเท้า  เป็นต้น
-  การเล่นเครื่องเล่นสัมผัส
ด้านอารมณ์-จิตใจด้านสังคม
ด้านสติปัญญา

-  การร้องเพลง  การท่องคำคล้องจอง  การทำท่าทางประกอบ
-  การฟังนิทาน  การเล่านิทาน
-  การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่างๆ เช่น  เล่นกับเพื่อน  เล่นกับครู  เล่นเครื่องเล่น  ฯลฯ
-  การเล่น  การเก็บของเล่น
-  การแบ่งปัน   การรอคอย
-  การบอกความรู้สึก  ความต้องการ
-  การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจำวัน
-  การรู้บทบาทหน้าที่
-  ฯลฯ

- การรับรู้และเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว
-  การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง  5  ในการเคลื่อนไหวและการเรียนรู้สิ่งต่างๆ  รอบตัว
-  การใช้ภาษาสื่อความหมาย  และความคิด
-  การรู้จักสังเกตคุณลักษณะต่างๆ เช่น  สี  ขนาด  รูปร่าง  เป็นต้น
-  การจดจำชื่อสิ่งต่างๆ รอบตัว
-  การฝึกใช้อวัยวะรับสัมผัสต่างๆ  ได้แก่  ตา  หู  จมูก  ลิ้น  และผิวหนัง
-  การสนทนาถาม-ตอบ
-  การอธิบาย  การนำเสนอสิ่งที่ทำหรือคิด
-  เกมการศึกษา
-  การทดลอง  ฯลฯ



                                                                                                      ตารางวิเคราะห์เชื่อมโยงหน่วยสาระที่ควรเรียนรู้     

ตัวเรา

เด็กควรรู้จักชื่อ  นามสกุล  รูปร่าง  หน้าตา  รู้จักอวัยวะต่างๆ วิธีระวังรักษาร่างกายให้สะอาด  ปลอดภัย  การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ  เรียนรู้ที่จะเล่นและทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเองคนเดียว  หรือกับผู้อื่น  ตลอดจนเรียนรู้ที่จะแสดงความคิดเห็น  ความรู้สึก  และมารยาทที่ดี
หน่วยสาระ
1.หน่วยร่างกาย
2. หน่วยเด็กดี
3. หน่วยประสาทสัมผัสทั้ง 5
4. หน่วยเนื้อ  นม  ไข่
5. หน่วยอาหาร
7. หน่วยตาวิเศษ
8. หน่วยใครเอ่ย
9 .หน่วย ฟ.ฟัน
10. หน่วยฤดูกาล
11. หน่วยน้ำหนัก
12. หน่วยพืช
13. หน่วยหนูทำได้
14.หน่วยวันสำคัญ เช่น วันเข้าพรรษา วันแม่ ฯลฯ
บุคคลและสถานที่

เด็กควรมีโอกาสได้รู้จักและรับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว  สถานศึกษา  ชุมชน  รวมทั้งบุคคลต่างๆ ที่เด็กต้องเกี่ยวข้องหรือมีโอกาสได้ใกล้ชิดและมีปฏิสัมพันธ์ในชีวิตประจำวัน


หน่วยสาระ
1.  หน่วยครอบครัว
2.  หน่วยโรงเรียน
3.  หน่วยชุมชน
4.  หน่วยบุคคลสำคัญ
5.  หน่วยเมืองไทย
6หน่วยวันสำคัญ  เช่น  วันพ่อ  วันแม่  วันครู  วันเด็ก ฯลฯ
7. หน่วยเพื่อนบ้าน
8. หน่วยอาชีพ
9. หน่วยอาเซียน
10. หน่วยท่องเที่ยว
11. หน่วยนิทาน
12. หน่วยบ้านของเรา
13.หน่วยนักประดิษฐ์
ธรรมชาติรอบตัว

เด็กควรได้เรียนรู้สิ่งมีชีวิต  สิ่งไม่มีชีวิต  รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงของโลกที่แวดล้อมเด็กตามธรรมชาติ  เช่น  ฤดูกาล  กลางวัน  กลางคืน  ฯลฯ



หน่วยสาระ
1.  หน่วยสัตว์
2.  หน่วยผีเสื้อ
3.  หน่วยน้ำ
4.  หน่วยพืช  ผัก  ผลไม้
5.  หน่วยดอกไม้
6.  หน่วยแมลง
7.  หน่วยกลางวัน  กลางคืน
8.  หน่วยโลกสวยด้วยมือเรา
9.  หน่วยฤดูกาล
10.  หน่วยไผ่
11. หน่วยเนื้อ  นม  ไข่
12. หน่วยอาหาร
13.หน่วยรุ้งกินน้ำ
สิ่งต่างๆ รอบตัว

เด็กควรได้รู้จักสี  ขนาด  รูปร่าง  รูปทรง  น้ำหนัก  ผิวสัมผัสของสิ่งต่างๆ รอบตัว  สิ่งของเครื่องใช้  ยานพาหนะ  และการสื่อสารต่างๆ ที่ใช้อยู่ในชีวิตประจำวัน



หน่วยสาระ
1.  หน่วยการคมนาคม
2.  หน่วยการสื่อสาร
3.  หน่วยพลังงาน
4.  หน่วยวิทยาศาสตร์
5.  หน่วยคณิตศาสตร์
6.  หน่วยเครื่องมือเครื่องจักร
7.  หน่วยปลอดภัยไว้ก่อน
8.  หน่วยของเล่น  ของใช้
9. หน่วยอากาศ
10. หน่วยกลางวัน  กลางคืน
11. หน่วยขยะ
12. หน่วยฤดูกาล
13. หน่วยนักประดิษฐ์
14. หน่วยนิทาน








==================================================================================